ศิริวัฒน์ แซนด์วิช ชายผู้ล้มแล้วลุกตั้งแต่ต้มยำกุ้ง จนถึงโ ค วิ ด1 9
20 ปีวิกฤ ตฟองสบู่แ ตก วันนี้ของ “ศิริวัฒน์แซนด์วิช”
หลังรัฐบาลประกาศลอยตัวค่าเงินบาท เศรษฐกิจพังครืน เศรษฐีกลายเป็นย าจกชั่ วข้ามคืน ผู้คนตกงาน จำนวนไ ม่น้อยตั ดสินใ จฆ่ าตัวต ายจนเป็นข่าวรายวัน ปฏิเสธไ ม่ได้ว่านี่คือบา ดแผ ลครั้งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งในหน้าประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ศิริวัฒน์ วรเวทวุฒิคุณ คือหนึ่งในตัวละครสำคัญ อดีตเซียนหุ้นผู้ถูกศาลสั่งให้เป็นบุคคลล้มละลาย มีห นี้สินติดตัวนับพันล้าน ต้องผันตัวมาเป็นพ่อค้าขายแซนด์วิชข้างถนน ด้วยหัวใ จไ ม่ยอมแ พ้ กั ดฟันสู้ล้มแล้วลุก จนกลับมายืนได้อีกครั้ง ทั้งยังสร้างแร งบันดาลใ จให้แ ก่คนทั้งประเทศ
ในโอกาสครบรอบ 20 ปีวิกฤตฟองสบู่ ชายวัย 67 ปีผู้นี้จะมาถ่ายทอดประสบการณ์อันล้ำค่าแลกมาด้วยหยาดเหงื่อและน้ำตา เพื่อเป็นอนุสติแ ก่คนที่กำลังท้อแท้ ท่ามกลางสถานการณ์น่าเป็นห่วงในยุคปัจจุบัน
ย้อนรอยวิกฤตฟองสบู่แตก วันที่คนไทยล้มทั้งยืน
ย้อนกลับไปเมื่อช่วงปี 2540 นักลงทุนในตลาดหุ้นไ ม่มีใครไ ม่รู้จักศิริวัฒน์ วรเวทวุฒิคุณ กร รมการผู้จัดการบริษัทหลักทรัพย์เอเซียจำกัด โบรคเกอร์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ผู้ได้รับฉายาจากสื่อมวลชนว่า อัศวินม้าขาว จากผลงานการทำกำไรหลายพันล้านให้กับบริษัทมากมาย
“หลังเรียนจบด้านบริหารการเงินจากมหาวิทย าลัยเท็กซัส สหรัฐอเมริกา ก็กลับมาทำงานตามบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ต่างๆ จนได้เป็นกร รมการผู้จัดการบริษัทหลักทรัพย์เอเซียจำกัดตั้งแต่อายุ 29 ช่วงนั้นตลาดการลงทุนบูมสุดๆ ผมเคยทำกำไรจากหุ้นได้มากสุดวันละสิบล้าน มีสื่อเชิญไปออกรายการมากมาย เรียกได้ว่าเป็นไอดอลของนักลงทุน ผมหาเงินได้เยอะมาก เป็นคนที่ไ ม่ว่างเลย ต้องโทรศัพท์ตลอด เช็คข่าวเช็คหุ้น พอมีเงินก็ส่งลู กไปเรียนเมืองนอก ช่วงนั้นผมพักอาศัยอยู่คอนโดมิเนียมเดียวกับคุณเจริญ ศิริวัฒนภักดี มหาเศรษฐีอันดับต้นๆของเมืองไทย
ก่อนจะเกิดวิก ฤตฟองสบู่ ไทยถูกมองว่าเป็นเสือเศรษฐกิจตัวใหม่ของเอเชีย ทุกคนใช้เงินลงทุนกันเพลิน นักลงทุนเมื่อคิดใหญ่แล้วเงินไ ม่พอก็ไปกู้เงินจากสถาบันการเงินต่างๆ โดยเฉพาะในต่างประเทศซึ่งสามารถกู้ได้โดยตรงไ ม่ต้องผ่านแบงค์ แถมดอกเ บี้ยน้อยกว่าในประเทศ ก็เลยแห่กันไปกู้เงินจำนวนมากมาทำธุรกิจ
ผมกู้เงินลงทุนสร้างคอนโดมิเนียมที่เขาใหญ่ห้องละ 5 ล้าน ขายเฉพาะคนรวยเท่านั้น ใช้การลงทุนในตลาดหุ้นแบบมาร์จิน (Margin) อธิบายง่ายๆ คือ กู้เงินมาลงทุน พอหุ้นตกก็ถูกบังคับขาย (Forced Sell) พอขายหุ้นจนหมดที่เหลือก็คือ ห นี้ ยก
ตัวอย่างเช่น มีห นี้อยู่ 100 ล้าน พอหุ้นตกก็ขายได้ 70 ล้าน เหลือห นี้ 30 ล้าน ดอกเ บี้ยก็เดินไปเรื่อยๆ พอเศรษฐกิจมีปัญหา คอนโดที่ผมขายถูกลู กค้าทิ้งเงินดาวน์ ลู กค้าซื้อห้องราคา 30 ล้าน เงินดาวน์ 10 % เป็นเงิน 3 ล้านบาท เมื่อลู กค้าทิ้งเงินดาวน์ ส่วนที่เหลือ 27 ล้าน ผมก็ต้องรับผิ ดชอบทั้งหมด ซึ่งเศรษฐกิจตอนนั้นจะไปขายใครก็ไ ม่ได้ ผมถูกบังคับให้ขายหุ้นไปแล้ว 70 % แต่ 30 % ยังอยู่ ดอกเ บี้ย 17-19 % ทบกันไปมาสุดท้ายจากห นี้ไ ม่กี่ล้านกลายเป็นพันล้าน”
ศิริวัฒน์จำได้แม่นถึงวันที่เรียกประชุมพนักงานบริษัทซึ่งมีอยู่ 40 คน เพื่อแจ้งว่าบริษัทต้องปิดตัว ตอนนั้นพนักงานครึ่งหนึ่งลาออก อีกครึ่งหนึ่งกำลังมืดแปดด้าน ไ ม่มีที่ไป เพราะช่วงนั้นมีแต่บริษัทปิดตัว งานหายาก ลู กน้องจึงมองเขาไ ต่างจากที่พึ่งสุดท้าย
“คำสอนหนึ่งที่ได้มาจากคุณพ่อคุณแม่คือ อ ย่าทิ้งลู กน้อง เพราะเขาเหมือนครอบครัวเดียวกับเรา ถ้าไ ม่มีเขาเราก็ไ ม่มีวันนี้ ผมปรึกษาภรรย าว่าจะช่วยพวกเขายังไงดี ลำพังตัวคนเดียวอาจจะไปขายประกัน หรือทำบริษัทขายตรงก็ได้ แต่งานเหล่านั้นมันเลี้ยงคนไ ม่ได้ สุดท้ายภรรย าบอกว่า งั้นเรามาทำแซนด์วิชขายกันเถอะ”
นี่คือจุดเริ่มต้นของตำนานคนสู้ชีวิตที่จะได้รับการกล่าวขานในอีกหลายสิบปีถัดมา
จากเศรษฐีร้อยล้านสู่พ่อค้าแซนด์วิชข้างถนน
หลังจากศิริวัฒน์คิดได้ว่าเขาไ ม่ใช่เซียนหุ้น ไ ม่ใช่เจ้าพ่ออสังหาริมทรัพย์คนเก่าอีกต่อไป บทเรียนแรกที่ได้รับในวันที่ล้มคือ อย่ าอายทำกิน
“เห ตุผลที่เลือกขายแซนด์วิชเพราะไ ม่ต้องลงทุนมาก ผมเช่าตึกแถวห้องเดียวที่ถนนจันทร์ เ อาโต๊ะ 4-5 ตัวมาวางพลาสติกคลุมก็ทำแซนด์วิชกันตรงนั้นเลย วันแรกวางขายที่โรงพย าบาลกรุงเทพ เขาให้พื้นที่เป็นโต๊ะเล็กๆ 1 ตัว ทำไปขาย 20 ชิ้น ชิ้นละ 25 บาท ถือว่าแพงมาก เจ้าอื่นขายแค่ชิ้นละ 8-10 บาท กว่าจะขายหมดใช้เวลา 6 ชั่ วโมง หักลบต้นทุนแล้วเหลือไ ม่เท่าไหร่ ขืนยังเป็นแบบนี้คงไปไ ม่รอดแน่ๆ
ผมจึงเริ่มขายเอง เอ าหน้าตัวเองนี่แหละเป็นพรีเซนเตอร์ เ อาหน้าตัวเองไปให้คนเห็นว่าผมนี่แหละเซียนหุ้น ทำธุรกิจเ จ๊ง ต้องมาขายแซนด์วิช อุดหนุนผมหน่อย (หัวเราะ) ใช้วิธียืนถือกล่องคล้องคอขาย แรกๆยืนขายหน้าธนาคาร คนไ ม่รู้จัก มองอย่างเดียวแต่ไ ม่ซื้อ บางวันรปภ.มาไ ล่ พอไ ล่ผมก็เดินหนี เผลอก็กลับมายืนใหม่ ข้อดีของการขายสินค้าเคลื่อนที่คือ จุดไหนขายไ ม่ดี ก็สามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย แค่เดินย้ายจุด”
ครั้งหนึ่งขณะกำลังยืนขายแซนวิชอยู่ริมถนนพระราม 4 เพื่อนคนหนึ่งขับรถผ่านมาเปิดกระจกตะโกนถามว่า ‘เดี๋ยวนี้ขายแซนด์วิชแล้วเหรอ’ การทักทายอันห่างเหินเย็นชาแทนที่จะลงมาทักทายโอภาปราศัยตามประสาเพื่อนเก่ากลับเปิดกระจกคุยกันราวกับคนแปลกหน้า ทำให้ศิริวัฒน์รู้สึกน้อยเ นื้อต่ำใ จ
“ถามว่าอายไหม อายนะ แต่หลังพิงฝาแล้ว ตอนนั้นเมี ยผมเซ็นค้ำประกันไว้ต้องแบกรับห นี้ 500 ล้าน ลู กคนโต 16 ขวบ คนกลาง 14 ขวบ คนเล็ก 9 ขวบ ไหนจะต้องเลี้ยงลู กน้องให้อยู่รอด ก็บอกตัวเองว่าต้องหน้าด้านต่อไปวะ ยืนตากแดดแบกกล่องแซนด์วิชขายตามหน้าธนาคาร หน้าโรงเรียน วัด สถานท่องเที่ยว เดินไปตามตรอกซอกซอยยันริมฟุตบาท เคยโดนเทศกิจจับขึ้นรถมาแล้ว แต่พูดจนเขายอมปล่อยตัว แม้กระทั่งรุ่นพี่ผมยังเคยชี้หน้าด่าว่า ทำไมไ ม่ไปทำอย่างอื่น ใช้หัวสมอ ง ความรู้ความสามารถ คอนเนกชั่น ทำอย่างอื่นที่มั นใหญ่กว่าการขายแซนด์วิช ก็ตอบไปว่าผมติดแบล็คลิสต์จะยืมเงินญาติเขาก็ไ ม่ให้ ก็เลยต้องพึ่งตัวเอง”
กลเม็ดการขายตามแบบฉบับของศิริวัฒน์แซนด์วิชคือ ไ ม่ตื๊อ ไ ม่ยั ดเยี ยด หากลู กค้าต้องการก็จะเดินมาซื้อเอง วันนี้อาจลองซื้อชิม วันหน้าถ้าติดใ จเขาจะกลับมาซื้อเอง แค่ทำสินค้าให้ดีไว้ในทุกๆ วันก็พอ
“ที่ราคาแซนด์วิชผมแพงเพราะใช้ขนมปังอย่างดีของย ามาซากิ เราเน้นใช้ของสด ขายแบบวันต่อวัน ขายไ ม่หมดก็ให้ลู กน้องเ อากลับไปกินที่บ้านหรือไ ม่ก็บริจาค จะไ ม่มีการนำไปแช่ตู้เย็นเพื่อขายในวันรุ่งขึ้นเป็นอันขาด เพราะคุณภาพมั นจะเปลี่ยน คนมาซื้ออาจซื้อเพราะสงสารเห็นใ จผม แต่ความสงสารมั นมีอยู่แค่ชิ้นแรกชิ้นเดียวเท่านั้น ถ้าคุณไ ม่ซื่อสัตย์กับเขา ไ ม่สด ไ ม่สะอาด ไ ม่อร่อย เขาจะไ ม่ซื้อชิ้นที่สองชิ้นที่สาม แล้วอาจไปบอกต่อก็ได้ว่า ‘เฮ้ย ไอ้ศิริวัฒน์แม่ งโก ง อย่ าไปอุดหนุนมั น’
ดังนั้นผมบอกพนักงานทุกคนอยู่เสมอว่า เราต้องซื่อสัตย์กับลู กค้า คนที่สงสารจะซื้อแค่ชิ้นเดียว แต่คนถูกใ จจะซื้อเราทุกวัน นี่คือสิ่งที่ผมยึดถือมาตลอด”
ศิริวัฒน์บอกอีกว่า เถ้าแ ก่ต้องลงมือเอง ยิ่งธุรกิจขนาดเล็ก ยิ่งต้องลุยเอง เพราะความเ อาใ จใส่จะทั่วถึง
“ถ้าธุรกิจไ ม่ได้ซับซ้อนอะไรมาก การที่เถ้าแก่ลงมาใส่ใ จ รายละเอี ยด นอกจากจะได้ใ จลู กค้า เช่น พอเขาเห็นผมมายืนขายแซนด์วิชก็บอก ‘โอ้โห เถ้าแ ก่ลงทุนมาขายเองเลย’ สิ่งที่ได้รับตามมาคือ เถ้าแ ก่สามารถรู้ถึงปัญหาที่แท้จริง และแก้ปัญหาได้ทันท่วงที ดีกว่าให้ลู กจ้างมานั่งรายงานเมื่อเวลาได้ผ่านไปแล้ว อีกอย่างที่เป็นผลพลอยได้คือลู กจ้างจะไ ม่อู้ เพราะเถ้าแ ก่อยู่ด้วยตลอดเวลา
การจะประสบความสำเร็จ คุณต้องขยัน ท้อได้แต่ต้องอดทน ไ ม่ใช่ว่าขายไ ม่ดีแล้วเลิก ผมขายน้อยได้น้อย ดีกว่าขายเยอะแล้วเ จ๊ง ผมเดินมาถึงจุดที่รู้ซึ้งแล้วว่าโลกนี้ไ ม่มีอะไรแน่นอน คุณต้องทำวันนี้ให้ดีที่สุด ผมเคยเล่นหุ้นได้วันละสิบล้าน วันนึงต้องมาขายแซนด์วิชได้กำไรไ ม่กี่ร้อย ผมก็ต้องทำ วันก่อนไปถนนข้าวสารขายของได้ 675 บาท ดีใ จมาก เฮ้ย ไ ม่ได้กลับบ้านมือเปล่าโว้ย (หัวเราะ) ต่างจากสมัยก่อนเล่นหุ้นได้ 2 แสน ก็จะอยากได้เพิ่มเป็น 4 แสน ความโล ภอยากได้เยอะๆมั นทำให้เราไ ม่มีความสุข
บทเรียนที่อยากจะฝากไปยังผู้ประกอบการรุ่นใหม่คือ การเริ่มธุรกิจควรเริ่มจากขนาดเล็กๆ ลองผิ ดลองถูกไปก่อน หากไปได้ดีค่อยขยายเพิ่มเติม ในทางกลับกันถ้าไปไ ม่รอดจะได้ไ ม่เจ็ บตัวมาก ระวั งอย่ าทำอะไรใหญ่เกินตัวหรือโ ภ เพราะโอกาสผิ ดพล าดมีสูงมาก ยิ่งถ้าไ ม่ใช่เป็นคนที่มีประสบการณ์ทำธุรกิจมาก่อน มีเงินเท่าไหร่ก็หมด”
คำสอนอีกข้อที่ศิริวัฒน์ให้ลู กๆให้จำไว้เสมอและทำให้ดูอยู่ตลอดคือ พึ่งตัวเอง
“ไ ม่ว่าจะทำอะไรก็ตาม ถ้าเราพึ่งตัวเองมากๆ สิ่งที่ได้รับระหว่างการทำธุรกิจคือประสบการณ์ที่โรงเรียนไหนก็ไ ม่มีสอน อยากให้คิดว่าที่เราเหนื่อยคือการลงทุน วันหนึ่งเมื่อประสบความสำเร็จ นอกจากเงินทองที่ได้รับแล้ว สิ่งที่จะตามมาคือความภาคภูมิใ จ”
คืนความสุขให้สังคม
ไ ม่น่าเ ชื่อว่า ผ่านมา 20 ปีวันนี้ศิริวัฒน์ลุกขึ้นสู้จนสามารถปลดห นี้พันล้านบาทได้สำเร็จ พ้นจากสถานะบุคคลล้มละลาย กลายเป็นตำนานคนสู้ชีวิตที่สร้างแ รงบันดาลใ จให้แ ก่คนนับล้าน
ปัจจุบัน บริษัท ทีจีไอเอฟ คอร์ปปอเรชั่น จำกัด ดูแลธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ ตั้งแต่แซนด์วิช ซึชิข้าวกล้องห่อสาหร่าย ปิต้าแซนด์วิช ข้าวกล้องอบกรอบ และน้ำเม่าเบอร์รี่ รวมทั้งยังเปิดบริการร้าน SIRIdeli ในโรงพยาบาลกรุงเทพและโรงพย าบาลพญาไท 3 ความฝันของศิริวัฒน์คือ อยากจะนำบริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เป็นบริษัทมหาชน
“สิ่งที่ทำให้ผมภูมิใ จคือ โครงการศิริวัฒน์แซนด์วิชช่วงปิดเทอมให้เด็ กๆที่สนใ จหารายได้พิเศ ษมาช่วยขาย ทำมา 13 ปีแล้ว ประสบความสำเร็จมาก ทำให้เ ด็กๆได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และเรียนรู้การทำธุรกิจด้วยตัวเอง สองเดือนที่ปิดเทอม บางคนหาเงินได้ 2 หมื่น บางคนได้ถึง 5 หมื่นบาท ขึ้นอยู่กับความขยัน
อีกโครงการที่ผมภูมิใ จคือ น้ำเม่าเบอร์รี่ ทำตั้งแต่ปี 2553 สมัยก่อนเกษตรกรอ.ภูพาน สกลนคร ปลูกลูกเม่าขายได้แค่กิโลละ 20-25 บาท ขายใส่ถาดละ 7-8 บาท บางทีเหลือมากๆเขาเททิ้งเลยนะ เพราะคนไ ม่ค่อยกินกัน ผมเห็นว่าสินค้าตัวนี้ดี เป็นผลไม้ท้องถิ่นของไทย คนส่วนใหญ่ไ ม่ค่อยรู้จัก ผมต้องการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลไม้ไทยเลยทำเป็นน้ำมะเม่ามาขายตามห้าง แต่ลูกค้าไ ม่มั่นใ จเลยไ ม่กล้าซื้อ ตอนหลังพอเปลี่ยนชื่อเป็นน้ำเม่าเบอร์รี่วางขายที่มินิบิ๊กซีทั่วประเทศ ปรากฎว่าคนชอบเพราะดื่มแล้วสดชื่น มีประโยชน์ ช่วยเรื่องระบบขับถ่าย ถวายเป็นน้ำปาณะให้พระก็ได้ เดี๋ยวนี้เกษตรกรสกลนครหันมาปลูกลูกเม่ากันเยอะ ราคาตอนนี้พุ่งเป็นกิโลกรัมละ 50 บาทแล้ว” เขายิ้มกว้างอย่างปลาบปลื้ม
ศิริวัฒน์บอกว่า ทุกวันนี้แนวคิดการทำธุรกิจจะนึกถึงเกษตรกรเป็นหลัก ไม่ว่าจะทำอาหารหรือเครื่องดื่ม วัตถุดิบจะต้องเป็นผลผลิตที่ขึ้นจากแผ่นดินไทยเท่านั้น
“สมัยก่อนผมทำธุรกิจแบบเห็นแก่ตัว คิดคนเดียว ทำคนเดียว รวยคนเดียว ยามมีปัญหาก็เลยเจ๊ งไปคนเดียวตามยถากร รม เพราะว่าไ ม่เคยเผื่อแผ่ใคร จึงไ ม่มีใครมาช่วย วันนี้ผมกลับมาใหม่ สร้างธุรกิจให้อยู่อย่างยั่งยืน ไ ม่ทำให้ตัวเองรวยคนเดียว คืนความสุขและเงินให้คนที่ผมร่วมงานด้วยอย่างโรงงานและเกษตรกร ทำให้ผมมีความสุขอย่างแท้จริง แม้จะไ ม่ได้รวยเป็นร้อยล้านพันล้าน ผมอยากเป็นเศรษฐีที่แบ่งปันให้กับสังคม นั่นคือ ช่วยเหลือเกษตรกร ผู้ที่มีภูมิปัญญาแต่ไ ม่มีโอกาส หมายความว่าปลูกเป็น ทำเป็น แต่ขายไ ม่เป็น กำไรจากการขายน้ำเม่าเบอร์รี่ ผมจะนำส่วนหนึ่งไปใช้ในการเป็นเจ้าภาพร่วมพิธีบรรพชาอุปสมบทพระภิกษุสงฆ์และเณรตามวัดต่างๆที่ขาดแคลนปัจจัย ถ้าคุณอุดหนุนน้ำเม่าเบอร์รี่ผม คุณก็จะได้ความอร่อย มีประโยชน์ แถมยังอิ่มบุญด้วย”
ที่ผ่านมา คำถามที่ได้รับอยู่บ่อยครั้งก็คือ ถ้าวันหนึ่งรวยแล้วยังจะมายืนคล้องคอขายแซนด์วิชไหม ศิริวัฒน์ยืนยันว่าต่อให้บริษัทเข้าตลาดหุ้น ก็จะเห็นประธานบริษัทคนนี้เดินคล้องคอขายแซนด์วิชเหมือนเดิมแน่นอน เพื่อเ ตือนสติว่ารากเหง้าของเขานั้นมาจากข้างถนน
“ทุกวันนี้ยังออกไปขายอยู่นะ (หัวเราะ) แต่ไ ม่ได้ยืนแบกกล่องขายเองคนเดียว 4-5 ชั่ วโมงแล้ว แบกไ ม่ไหว เดี๋ยวนี้ต้องไปกับลู กน้อง สมมติเอาไป 50 ชิ้นเหลือ 20 ชิ้น มากูแบกเอง ต่างจากสมัยก่อน 50 ชิ้น ผมแบก ลู กน้องยืน เพราะต้องเ อาตัวเราเป็นจุดขาย เวลาผมไปขาย ลู กค้าจะเข้ามาชื่นชม ให้กำลังใ จ อุดหนุนผม ถามว่าเมื่อไหร่ถึงจะหยุดออกไปเดินตามถนน ก็จนกระทั่งผมไ ม่ไหวแหละครับ แต่วันนี้ผมอายุ 67 ยังเดินไหวอยู่”
ตลอด 20 ปีที่ผ่านมา ศิริวัฒน์ยังเดินสายบรรยายเกี่ยวกับสภาวะเศรษฐกิจ การเงิน ตลาดหลักทรัพย์ และประสบการณ์ชีวิตทั้งในและนอกประเทศมากกว่า 200 แห่ง รวมทั้งให้สัมภาษณ์สื่อมวลชนรวมทั้งสิ้นกว่า 500 ครั้ง พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่าชีวิตของเขานั้นควรค่าแ ก่การศึกษา
หมายเห ตุ-ข้อมูลบางส่วนจากหนังสือ “เถ้าเเ ก่(ข้างถนน)สอนลู กรวย” สำนักพิมพ์ดีเอ็มจีฟ