9 สัญญา ณ เสี่ยงมะเ ร็งทางเดินอาหาร
9 สัญญา ณ เสี่ยงมะเ ร็งทางเดินอาหาร
มะเร็ งทางเดินอาหารเป็นสาเห ตุการเสียชีวิตจากโร คมะเร็ งที่สำคัญ ชนิดของมะเร็ งทางเดินอาหารที่พบบ่อย ได้แก่ มะเร็ งตั บ มะเร็ งลำไ ส้ใหญ่ มะเร็ งกระเพ าะอาหาร มะเ ร็งหลอดอาหาร และมะเ ร็งตั บอ่อน
โดยทั่วไปพบมะเ ร็งทางเดินอาหารได้บ่อยกว่าในเพ ศชาย และความเสี่ ยงเพิ่มขึ้นตามอายุ
สาเ หตุของมะเร็ งทางเดินอาหาร
ผศ.(พิเศษ) นพ.ปิยะพันธ์ พฤกษพานิช แพทย์ฝ่ายอายุรศาสตร์ โรงพย าบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย สาเ หตุเกิดจากปัจจัยร่วมกันระหว่าง
1 พันธุกร รม เชื้ อชาติ ประวัติการเ จ็บป่ว ยมีโ รคมะเ ร็งทางเดินอาหารในครอบครัวหรือเคยเป็นมะเ ร็งที่อวัยวะอื่นมาก่อน เช่น รังไข่ มดลูก เต้ านม
2 ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม และพฤติกร รมเสี่ ยงทางสุขภาพ การบริโภคอาหารที่มีสา รก่อมะเร็ งพวกเอ็น-ไนโตรโซ (N-NitrosoCompounds) ที่พบมากในสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอาหารประเภท ปิ้ง ย่าง อาหารหมักดอง อาทิ ปลาเค็ม กุ้งแห้ง กะปิ ปลาร้ า เบคอน ปลาหมึกตากแห้ง กุนเชียง เป็นต้น พฤติก รรมการสู บบุห รี่ การดื่มแ อลกอฮ อล์
ปัจจัยภายในถือเป็นสาเห ตุสำคัญ ต่อการเกิดมะเร็ ง โดยมีปัจจัยภายนอกเป็น ตัวเสริมหรือเร่งให้การเกิดมะเร็ งเร็วขึ้น หรือมีความเสี่ ยงสูงขึ้น
หากท่านมีอาการผิ ดปกติดังต่อไปนี้ ควรรีบมาพบแพทย์
– กลืนติด กลืนลำบาก กลืนแล้วเจ็ บ
– เบื่ออาหาร อิ่มเร็ว รับประทานอาหารได้น้อยลง
– แน่นท้องเรื้อรัง อาเจียนเป็นอาหารเก่า อาเจียนเป็นเลื อด
-ปว ดท้องที่ไม่หายไปเอง ปว ดถี่ขึ้น ปว ดมากขึ้น
-ป วดท้องกลางคืนจนไม่สามารถนอนหลับได้
-การขับถ่ายเปลี่ยนแปลง อุจจาระลำเล็กลง
-ถ่ายอุจจาระสีดำแดงหรืออุจจาระปนเลื อด
-ตัวเหลืองตาเหลือง ท้องโต คลำพบก้อนในท้อง
-น้ำหนักลดโดยที่ไม่ได้ตั้งใจลด อ่อนเพลีย มีภาวะโลหิตจาง
วิธีป้องกันมะเร็ งทางเดินอาหาร
เข้ารับการตรวจคัดกรองเมื่อมีอายุ 55 ปีขึ้นไป เพราะเป็นโ รคที่รักษาได้ถ้าตรวจเจอในระยะแรก
งดอาหารที่มีรสเค็ม อาหารปิ้งย่างรมควันที่ก่อให้เกิดการอักเส บเรื้ อรัง และทำให้เกิดมะเ ร็งได้
หมั่นออกกำลังกายเป็นประจำ
รับประทานผักและผลไม้
ไม่สู บบุ หรี่
รีบปรึกษาแพทย์หากพบว่ามีความเสี่ ยงการเกิดโร ค หรือเริ่มมีอาการที่น่าสงสัย
ขอขอบคุณข้อมูล :ผศ.(พิเศษ) นพ.ปิยะพันธ์ พฤกษพานิช แพทย์ฝ่ายอายุรศาสตร์ โรงพย าบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย,โรงพย าบาลสมิติเวช,โรงพย าบาลพญาไท