7 เรื่องเงินที่ต้องคิด ถ้าอายุ 30 ขึ้นไปแล้ว ยังไม่มีอะไรสักอย่าง
7 เรื่องเงินที่ต้องคิด ถ้าอายุ 30 ขึ้นไปแล้ว ยังไม่มีอะไรสักอย่าง
1.รู้ตัวเองก่อนว่างมีอะไร มากกว่ากัน ระหว่าง “ทรัพย์สิน” กับ “หนี้สิน”
หากว่าเพื่อน ๆ ทำงานได้เงินเดือนๆนึงหลักหลายหมื่น แต่กลับมีรายจ่ายไปกับหนี้สูงพอๆ กับรายรับ สิ่งที่ควรใส่ใจอย่ างแรกเลย คือลิสต์รายการของทรัพย์สินเพื่อเปรียบเทียบกับหนี้สินที่มีทั้งหมดครับ
และถ้าหากมานั่งงงว่า เฮ้ย!เราก็มีสินทรัพย์เยอะนะ มือถือรุ่นใหม่ ๆ , กล้องถ่ายรูปแพงๆ ฯลฯแต่ทำไมยังจนอยู่ มีแต่หนี้สิน คิดง่ายๆเลยครับ มือถือ จำนวน 1 เครื่อง ราคาประมาณ 25,000-30,000
แต่ราคาขายต่อ มันก็หายไปแทบจะครึ่งต่อครึ่งแล้วครับ แค่นี้ก็พอจะมองออกแล้วใช่มั้ยครับว่าเพื่อนๆต้องเริ่มกลับมาวางแผนการเงินให้ตัวเองได้แล้วเริ่มต้นง่ายๆ ที่เริ่มสะสมทรัพย์สิน ที่ก่อให้เกิดรายได้ เช่น หุ้น กองทุนรวม เป็นต้น
2.สร้างงบการเงินในแบบของตัวเองได้แล้ว
แม้เพื่อนๆ จะหาเงินได้มากแค่ไหนแต่หากบริหารเงินไม่ดี เงินที่ได้มาก็จะหายไปง่ายๆ เรียกว่า ‘รวยเดย์รวยกันแค่วันสิ้นเดือน” ดังนั้นสิ่งที่เพื่อนๆต้องให้ความสนใจในลำดับถัดมา คือ การสร้างงบรายจ่ายหากไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นยังไง ให้เริ่มต้นจากงบการเงิน 50-30-20 ดู ครับ
3.เริ่มทยอยปลดหนี้ใ ห้หมดได้แล้ว
ไม่ว่าจะเป็นค่าผ่อนรถ , ค่าบัตรเครดิต,หรือแม้แต่ค่าผ่อนสินค้า 0% ต่างๆ นั่นเพราะยิ่งปลดหนี้เร็วเท่าไหร่เราก็สามารถนำเงินไปต่อยอดได้มากขึ้นเท่านั้นครับ
และถ้ายังไม่แน่ใจว่าจะปลดหนี้ยังไงดีแนะนำว่าให้เริ่มจากดูว่าเรามีหนี้ทั้งหมดกี่ราย,จำนวนเงินที่เป็นหนี้ของแต่ละราย และอัตรา ด อ ก เบี้ยจากนั้นให้จัดลำดับหนี้โดยให้หนี้ที่มีอัตราด อ ก เบี้ยสูงสุดอยู่ด้านบนและเริ่มต้นปลดหนี้จากก้อนนั้นก่อนแล้วค่อยๆทยอยปิดหนี้ก้อนอื่นๆ ต่อไปจนหมดครับ
4.บริหารความเสี่ยงให้เป็น
การมีสติช่วยให้เราผ่านทุกปัญหาได้เพร าะสิ่งที่เราจะพูดต่อไปนี้คือเรื่องของความเสี่ยงต่างๆที่เกิดขึ้นไม่ว่าคุณจะโสดหรือไม่ก็ตามความเสี่ยงที่ควรพิจารณามี 3 ด้านคือ
4.1 ความเสี่ยงด้านชีวิตและสุขภาพ
เริ่มจากการคิดว่าหากเราเจ็บป่วยหรือเกิดเหตุไม่คาดคิดครอบครัวจะต้องลำบากเพราะขาดกำลังสำคัญรึเปล่า?หากคำตอบคือใช่ เราลองบริหารความเสี่ยงโดยการซื้อประกันดีมั้ย?
4.2 ความเสี่ยงด้านทรัพย์สิน นั่นก็คือหากเราหยุดทำงาน
(ไม่ว่าจะลาออกหรือไม่อย ากลาออกก็ตาม)เรามีความพร้อมรึยัง? หากไม่มีสิ่งแรกที่ควรทำคือสำรองเงินสำรองฉุกเฉินประมาณ 6 เดือนของรายจ่ายเอาไว้ก่อน
4.3 ความเสี่ยงในการดำเนินชีวิต เช่น
หากวันหนึ่งสาวๆขับรถแล้วเกิดอุบัติเหตุ เรามีประกันภัยรถยนตร์รึเปล่า?ถ้าไม่มีจะซื้อมั้ย? ซื้อประกันแบบไหนดี?
5.คุณต้องมีเงินสำรองฉุกเฉินอย่ างน้อย 6 เดือน
คิดจาก (รายจ่ายปกติต่อเดือน x 6 เดือน = เงินสำรองฉุกเฉินที่ควรมี)เงินจำนวนนี้จะช่วยให้เราสามารถรับมือกับปัญหาเฉพาะหน้าด้านการเงินได้โดยไม่ต้องกู้ยืมเงินคนอื่นซึ่งอาจจะทำให้เรากลับเข้าไปอยู่ในวงจรหนี้อีกครั้ง
6.ศึกษาเรื่องภาษีได้แล้ว
ยิ่งรายได้มาก ก็อย่ าลืมว่าภาษีก็ต้องเพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัวเพ ราะถือเป็นกฏหมายที่ทุกคนในชาติต้องปฏิบัติตามสิ่งที่สาวๆควรศึกษาคือกฏหมายต่างๆที่เกี่ยวข้องกับภาษีไม่ว่าจะเป็นการลดหย่อนหรือการละเว้นใดๆก็ตาม
7.วางแผนเกษียณหรือยัง
“แก่ไม่ว่า แต่อย่ าแก่แบบไม่มีเงินครับ”ที่บอกแบบนี้เพราะอย ากให้วางแผนเกษียณกันไวๆ ยิ่งวางเร็วยิ่งดีดังนั้นการเริ่มต้นตั้งแต่วันนี้ก็เพื่อผลประโยชน์สำหรับเราเองครับไม่ต้องลำบากลูกหลาน
ที่มา : aommoney