ใครที่ปวดหลังบ่อยๆควรรู้ อาจเกิดอั นต ราย ระยะยาวได้
ใครที่ปวดหลังบ่อยๆควรรู้ อาจเกิดอั นต ราย ระยะยาวได้
เมื่อมีอาการปວดหลังคนส่วนมากมักเพิกเฉย หรือหาย าแก้ปວดมารับประทานเพื่อบรรเทาอาการเฉย เพราะคิดว่าไม่ใช่อาการร้ า ยแรงอะไร แต่หารู้ไม่ว่า บาง
ครั้งอาการปວดหลังก็ไม่ได้เป็นเพียง ความผิดปกติทั่วไปเท่านั้น แต่อาจเป็นสัญญาณบ่งบอกถึงความผิดปกติ หรือโ ร คที่เกิ ดขึ้นกับร่ า งกายก็ได้
วิธีรั กษ าอาการปວดหลัง
การรั กษ าอาการปວดหลังมีหลากหลายวิธี ขึ้นอยู่กับอาการของโ ร ค หากปວดหลังจากกล้ามเนื้อก็อาจรั กษ าโดยการสวมเสื้อกระชับหลัง เข้ารับการทำ
กายภาพบำบัด หรือนวดรั กษ า แต่ในรายที่อาการหนัก และสาเหตุไม่ได้เป็นที่กล้ามเนื้อ อาจต้องผ่า ตั ดหรือรับประทานย ารั กษ าอื่น
ดั งนั้u ควรสังเกตอาการปວดหลังที่เป็นอยู่ หากมีอาการผิดปกติไปจากที่ควรจะเป็น ให้รีบไปพบแพทย์เพื่อจะได้รั กษ าได้ทันท่วงที
อาการปວดหลังที่บ่งบอกโ ร คได้
อาการปວดหลังร่วมกับแขนขาชาไม่มีแรง
ลักษณะอาการนี้เป็นไปได้ว่า ไขสันหลังอาจบาดเจ็ບ หรือถูกกดทับ ควรรีบปรึกษาแพทย์โดย เพื่อเอกซเรย์ตรวจดูก ร ะ ดู กสันหลังเพื่อหาตำแหน่งที่ผิดปกติ โดยผู้ป่ ว ยบางราย นอนพักรั กษ าตัว ทำกายภาพ หรือรับประทานย าก็หายได้ แต่บางรายอาจจำเป็นต้องรั กษ าด้วยการผ่า ตั ด
ปວดบริเวณเอวและมีไข้หนาวสั่น
หากอาการนี้เกิ ดร่วมกับอาการปัสสาวะขุ่นแสบขัด อาจเกิ ดจากการติดเชื้อ
อักเสบของไต หรืออาจเป็นโ ร คกຣวຢไตอักเสบได้ ซึ่งสาเหตุมาจากการดื่มน้ำในแต่ละวันน้อยเกินไป และการอั้นปัสสาวะนาน
สำหรับการรั กษ า แพทย์จะให้ย าคร่าเชื้อและย าอื่น ตามแต่การวินิจฉัยโ ร ค
และแนะนำให้ดื่มน้ำมาก รวมถึงปรับเปลี่ยนพฤติกssมการอั้นปัสสาวะ เมื่อรั กษ า
จนไตเป็นปกติแล้ว อาการปວดหลังดังกล่าวก็จะหายไป
นอกจากนี้การติดเชื้อที่ก ร ะ ดู กสันหลัง ก็อาจทำให้มีอาการปວดหลังร่วมกับมีไข้ได้เช่นกัน
อาการปວดเหนือบั้นเอวทั้งสองข้าง
อาการปວดเหนือบั้นเอวทั้งสองข้างร่วมกับมีอาการปัสสาวะขุ่น แสบ ขัด มีไข้
แพทย์จะตรวจร่ า งกายเพิ่มเติมและส่งตรวจปัสสาวะ โดยอาจมีสาเหตุมาจากนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ หรือติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
อาการปວดหลังในสตรีมีครรภ์
สำหรับสตรีมีครรภ์อาจเป็นผลจากปัจจัยหลายอย่าง เช่น ฮอร์โมนในร่ า งกายเปลี่ยนแปลง หรือการแบกรับน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นจากทารก
อาการปວดเรื้อรัง ไม่หาย และปວดมากขึ้นเรื่อย
หากมีน้ำหนักมากกว่าปกติ หรือมีอายุมากขึ้น อาจเกิ ดจากโ ร คก ร ะ ดู กสันหลัง
สึกกร่อน กรณีนี้แพทย์จะให้ย าแก้ปວดมารับประทาน ทำกายภาพบำบัด สวมเสื้อดามหลัง และรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมเพิ่มขึ้น และลดน้ำหนักตัวให้กลับมาอยู่ในเกณฑ์ปกติ
อาการปວดหลังที่เป็นอันตรายและควรไปพบแพทย์ทันที
หากอาการปວดหลังของคุณหนักขึ้นเรื่อย จนส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิต เช่น มี
อาการชาและอ่อนแรงร่วมด้วย ปວดหลังตอนกลางคืนจนนอนไม่หลับ หรือหลับไปแล้วแต่มีอาการปວดหลังขึ้นมาจนต้องตื่นมารับประทานย าแก้ปວดทุก คืน โดยเป็นติดต่อกันระยะเวลามากกว่า 2-3 สัปดาห์ขึ้นไป
หากคุณมีอาการอย่างที่กล่าวไปในข้างต้น ให้รีบไปพบแพทย์ทันที เพราะอาจเป็นความผิดปกติที่เกิ ดจากการอักเสบติดเชื้อ หรือภาวะของโ ร คเนื้องอก
ทำกายภาพบำบัดรั กษ าอาการปວดหลังเรื้อรัง
หากคุณมีอาการปວดหลังเรื้อรัง หรือมีอาการออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) จนส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิต การไปทำกายภาพบำบัดก็เป็นหนึ่งในทางเลือกในการรั กษ าที่ตรงจุด
โดยปัจจุบันมีการทำกายภาพบำบัดด้วยวิธีที่หลากหลาย เช่น การออกกำลังกายเพื่อการรั กษ า การรั กษ าด้วยการดัด-ดึง การใช้เครื่องไฟฟ้า ความร้อน หรือความเย็น เป็นต้น
เมื่อคุณไปทำกายภาพบำบัด ผู้เชี่ยวชาญจะช่วยบำบัด แก้ไข หรือฟื้นฟูในส่วนที่เสื่оมสมรรถภาพ เพื่อรั กษ าอาการปວดนั้น เช่น ช่วยปรับโครงสร้างของข้อต่อก ร ะ ดู ก กล้ามเนื้อ และเส้นประสาทให้อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม เพื่อลดอาการปວดหลังที่เกิ ดขึ้น เป็นต้น