6 สิ่งจะเกิดขึ้น หากวันนี้ยังเล่น มือถือก่อนนอนทุกวัน

6 สิ่งจะเกิดขึ้น หากวันนี้ยังเล่น มือถือก่อนนอนทุกวัน

ในยุคนี้ทุกคนแถบจะมีมือถือ เป็นปัจจัยที่ 5 ของชีวิตไปซะแล้ว ไม่ว่าจะตื่นนอน เช้า สาย บ่าย เย็น จนกระทั่งก่อนจะเข้านอน แทบจะ ข า ดและวางจากมือถือไม่

ได้เลยทีเดียว ซึ่งบางคนถึงขั้นปิดไฟจะนอนแล้ว ก็ยังติดมือถือไม่เลิก วันนี้เราจึงมาบอ กผลกระทบ ในการเล่นมือถือก่อนนอน โดยเฉพาะเมื่อเวลาที่ปิดไฟแล้ว ว่าจะมีผลกระทบอะไรบ้าง

1 เป็นอั น ต ร า ย ต่อไต การเล่นมือถือส่ งผลต่อระบบภายในร่างกายอย่ างไต

และทำให้ผมร่วงอีกด้วย นอ กจากนี้ยังส่ งผลให้อารมณ์หดหู่ได้ง่าย เทคโนโลยีที่ทันสมัยนั้นมีประโยชน์อย่ างมาก

แต่ก็มีผลเสียอย่ างมากเช่นกัน ถ้าหากใช้ไม่ถูกวิธีและใช้มากเกินขีดจำกัด หากใครมีพฤติก ร ร มเล่นมือถือก่อนนอน ก็รีบเปลี่ยนซะก่อนที่จะส่ งผลต่อร่างกายในระยะย าว

2 แน่นอนว่าการเล่นมือถือในที่ที่แสงน้อย โดยเฉพาะตอนที่ปิดไฟจะนอนแล้ว ส่

งผลต่อสายต าของเราโดยตรง ทำให้สายต าแย่ลง เพราะดวงต าจะต้องทำงานหนัก และยิ่งการนอนตะแครงเล่นจะทำให้น้ำหนักไปกดทับต าอีกด้วย อาจจะทำให้ โ ล หิ ต ไปเลี้ยงบริเวณดวงต าไม่เพียงพอ และ สายต าก็จะสั้นลงกว่าเดิม

3 เวลาเล่นมือถือก่อนนอน แสงไฟสีฟ้าจะทำให้เรานอนหลับย าก กล า ยเป็นคน

นอนดึก และเมื่อนอนดึกบ่อยๆจนเป็นนิสัยก็จะส่ งผลให้ผิวเสีย ไม่มีความสดใส เพราะร่างกายพักผ่อนไม่เพียงพอ

4 กล า ยเป็นคนชอบผัดวันประกันพรุ่ง เพราะเวลาได้จับโทรศัพท์แล้ว มักจะ

ห้ามใจหยุดเล่นย าก ตอนแรกก็คิดไว้ว่าสัก 10 นาที ก็จะนอนแล้ว แต่พอเอาเข้าจริงๆก็หยุดไม่ได้ เผลอๆผ่านไป 2-3 ชั่ วโมงก็ยังไม่นอนสักที แล้วก็กล า ยเป็นว่านอนดึกตื่นสายซะงั้น เสียการเสียงานหมด

5 เสี่ยงเป็น โ ร ค เ ค รี ย ด เ รื้ อ รั ง ช่วงก่อนเข้านอน สมองของเราควรได้รับการ

พักผ่อน ไม่ควรที่จะมีข้อมูลอะไรมาป้อนเข้าสมอง เพราะในมือถือนั้นมีข่าวสารมากมาย บางทีก็มีเรื่องเครียดให้รับรู้ก่อนนอน กล า ยเป็นเสียสุขภาพ สมอง

เครียด ระบบโ ล หิ ตมีปัญหา เสี่ยงเป็น โ ร ค ก ร ะ ดู กค อ และ ก ร ะ ดู ก สั น ห ลั ง มีปัญหา และ เ ค รีย ด เ รื้ อ รั ง ต ามมาอีกด้วย

6 คุณภาพการนอนลดลง พฤติก ร ร มการปิดไฟแล้วมาเล่นมือถือก่อนนอน มัน

เป็นสิ่งที่รบกวน ดวงต าและสมองอย่ างมาก แทนที่จะได้นอนพักผ่อน สมอง กลับถูกกระตุ้นให้ทำงานด้วยการเล่นมือถือ ทำให้นอนไม่หลับ พอตื่นเช้าก็จะมีอาการง่วงซึม พักผ่อนไม่เต็มที่

ที่มา pakwanja, th.wikipedia.org

ใส่ความเห็น

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า