ก้างปลาติดคอ กับวิธีปฐมพย าบาลที่ถูกต้องที่แพทย์แนะนำ

ก้างปลาติดคอ กับวิธีปฐมพย าบาลที่ถูกต้องที่แพทย์แนะนำ

“ก้างปลาติดคอ” เป็นประสบการณ์อันแสนเจ็ บปว ดที่อาจเกิดขึ้นได้กับผู้ที่รับประทานปลา และหากใครที่เคยเจอประสบการณ์นี้ อาจจะเข็ดกับการรับประทานปลาไปอีกนาน เพราะทั้งเจ็ บคอและสร้างความทรม านอยู่ไ ม่น้อยเลยทีเดียว

อาการก้างปลาติดคอนั้น ถือว่าไ ม่ใช่เรื่องเล็กๆ อาจเกิดอันตร ายถึงขั้นเป็นแผ ลบริเวณหลอดอาหารหรือเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ติดเ ชื้อ เป็นหน องลามเข้าไปในคอ หรือลามเข้าไปในช่องอกได้

นายแพทย์ปวิชญ์ วิรัชศิลป์ ผู้อำนวยการโรงพย าบาลวิรัชศิลป์ จังหวัดชุมพร โรงพย าบาลในเครือ “พริ้นซิเพิล เฮลท์แคร์” เผยเกี่ยวกับเคสก้างปลาและเคสวัตถุแปลกปลอมติดคอ สถิติในปี 2562 พบว่า เฉลี่ยแล้วพบเคสดังกล่าวกว่า 144 เคสต่อปี หรือเฉลี่ยสัปดาห์ละประมาณ 3-4 เคสเลยทีเดียว

อาการเมื่อมีก้างปลาติดคอ

เมื่อก้างปลาติดคอ ส่วนใหญ่มักจะมีอาการ เ จ็บจี๊ ดเฉียบพลัน กลืนน้ำลายแล้วเจ็ บ รวมทั้งสามารถบอกตำแหน่งได้ว่ามีสิ่งแปลกปลอมติดอยู่บริเวณใด

วิธีปฐมพย าบาลเบื้องต้น เมื่อก้างปลาติดคอ

สำหรับวิธีปฐมพย าบาลเบื้องต้น สามารถดื่มน้ำแล้วกลั้วคอแร งๆ หากเป็นก้างปลาขนาดเล็ก จะสามารถหลุดออกเองได้ แต่หากยังไ ม่หลุด ควรมาพบแพทย์ทันที

ความเ ชื่อผิ ดๆ เมื่อมีก้างปลาติดคอ

หลายคนคงเคยได้ยิน ความเชื่ อและสา รพัดวิธีการปฏิบัติหากมีก้างปลาติดคอ ไ ม่ว่าจะเป็น การปั้นข้าวเหนียว การรับประทานกล้วย หรือมาร์ชเมลโล แล้วกลืนเพื่อดันก้างปลาให้หลุด หรือการใช้นิ้วล้วงคอ นับว่าเป็นความเชื่ อและวิธีการที่ผิ ด เพราะในความเป็นจริงแล้วก้างปลาที่ใหญ่จะไ ม่สามารถหลุดออกได้ และการรับประทานอาหารดังกล่าวลงไป หรือแม้แต่การใช้นิ้วล้วงคอ อาจดันให้ก้างปลาติดลงไปลึกกว่าเดิมและทำให้เกิดแผ ลอีกด้วย

นอกจากนี้ ความเ ชื่อว่าการดื่มน้ำมะนาวแล้วจะทำให้ก้างปลาอ่อนนุ่มลง ก็ไ ม่เป็นความจริง เพราะน้ำมะนาวไ ม่สามารถทำให้ก้างปลาละลายและหลุดหายไปเองได้ และยิ่งดื่มน้ำมะนาวในปริมาณมาก อาจทำให้เกิดการระคายเคืองกระเ พาะอาหารอีกด้วย

การรักษาด้วยวิธีการส่องกล้อง หรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
สำหรับแนวทางการตรวจและรักษาเมื่อมีอาการก้างปลาติดคอนั้น แพทย์จะทำการซักประวัติก่อนว่า ทานปลาชนิดใด และก้างปลาติดคอมานานแค่ไหนแล้ว มีอาการเจ็ บที่บริเวณตำแหน่งไหนบ้าง โดยการตรวจเบื้องต้นจะใช้ไ ฟฉายคาดบริเวณศีรษะ ใช้ไหมกดลิ้น เพื่อหาเศษก้างปลาในบริเวณที่มักพบบ่อยๆ

กรณีเคสที่หาก้างปลาไ ม่เจอ หรือเคสที่ก้างปลาติดในตำแหน่งลึก อาจจำเป็นต้องใช้กล้องขนาดเล็ก ส่องผ่านเข้าทางจมูกลงไปในบริเวณลำคอ หรือใช้ฟิล์มเอกซเรย์ เพื่อช่วยให้มองเห็นตำแหน่งที่แน่ชัดและใช้ที่คีบ ทำการคีบก้างปลาออกมา และหากใช้วิธีดังกล่าวแล้วยังหาไ ม่เจอ แต่ยังมีอาการเจ็ บมาก หรือมีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ อาจต้องทำเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) เพื่อรักษาต่อไป

ขอขอบคุณข้อมูล :นายแพทย์ปวิชญ์ วิรัชศิลป์ ผู้อำนวยการโรงพย าบาลวิรัชศิลป์ จังหวัดชุมพร โรงพย าบาลในเครือ “พริ้นซิเพิล เฮลท์แคร์”

ใส่ความเห็น

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า