ปล่อยกู้ฉุ กเฉิ น 10,000 และ 50,000 ไ ม่ต้องมีคนค้ำ

ปล่อยกู้ฉุ กเฉิ น 10,000 และ 50,000 ไ ม่ต้องมีคนค้ำ

นายอาคม เติมพิทย าไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เปิดเผยว่า จากสถานการณ์การแ พร่ระบา ดของเ ชื้อไวรั สที่มีมาอย่างต่อเนื่องและนำไปสู่การประกาศพื้นที่ควบคุมสูงสุดรวมทั้งสิ้น 28 จังหวัด เพื่อบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้นแ ก่ผู้ประกอบการและประชาชนจากสถานการณ์ที่ยังไ ม่สามารถคาดการณ์ได้ว่าจะขยายวงกว้างมากน้อยเพียงใด

กระทรวงการคลังและสถาบันการเงินเฉพาะกิจจึงได้ดำเนินมาตรการด้านการเงินต่าง ๆ ไ ม่ว่าจะเป็นมาตรการที่มีอยู่แล้วซึ่งสามารถดำเนินการได้ทันที และมาตรการเพิ่มเติมอื่นๆ ประกอบไปด้วยมาตรการเสริมสภาพคล่อง (สินเชื่ อและค้ำประกันสินเชื่ อ) และมาตรการบรรเทาภาระห นี้สิน (พักชำระห นี้) โดยมีมาตรการที่สำคัญสรุปได้ ดังนี้

 

1. มาตรการเสริมสภาพคล่อง (สินเ ชื่อและค้ำประกันสินเชื่ อ)

เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการและประชาชนที่ได้รับผลกระทบให้มีสภาพคล่องสำหรับการใช้จ่ายในชีวิตประจำวันและการดำเนินธุรกิจ กระทรวงการคลังร่วมกับธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) และสถาบันการเงินเฉพาะกิจได้ดำเนินมาตรการสินเชื่ อดอกเ บี้ยต่ำและมาตรการค้ำประกันสินเชื่ อเพื่อให้ความช่วยเหลือแ ก่ผู้ประกอบการและประชาชน โดยมีรายละเอี ยด ดังนี้

1.1 มาตรการเสริมสภาพคล่องสำหรับผู้ประกอบการ ประกอบด้วย

1.1.1 ธนาคารออมสิน ได้ดำเนินโครงการสินเชื่ อดอกเบี้ ยต่ำสำหรับผู้ประกอบการ ดังนี้

1) โครงการสินเชื่ อดอกเบี้ ยต่ำเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม สำหรับผู้ประกอบการในธุรกิจท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง (Soft Loan ท่องเที่ยว) วงเงินคงเหลือประมาณ 7,800 ล้านบาท

2) โครงการสินเ ชื่อฟื้นฟูท่องเที่ยวไทย วงเงินคงเหลือประมาณ 4,200 ล้านบาท และ

3) โครงการสินเชื่ อออมสิน SMEs มีที่ มีเงิน วงเงินโครงการ 10,000 ล้านบาท โดยทุกโครงการรับคำขอสินเ ชื่อถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2564

 

1.1.2 ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) ได้ดำเนินโครงการสินเชื่ อเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการรายย่ อยที่ได้รับผลกระทบ (สินเ ชื่อ Extra Cash) วงเงินคงเหลือประมาณ 5,900 ล้านบาท รับคำขอสินเชื่ อถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2564

 

1.1.3 บรรษัทประกันสินเ ชื่ออุตสาหกรร มขนาดย่อม (บสย.) ได้ดำเนินโครงการค้ำประกันสินเ ชื่อสำหรับผู้ประกอบการ SMEs และผู้ประกอบการรายย่อ ย ดังนี้

1) โครงการค้ำประกันสินเชื่ อ SMEs ไทยสู้ภั ยโค วิ ด วงเงินโครงการ 5,000 ล้านบาท ภายใต้โครงการค้ำประกันสินเ ชื่อ Portfolio Guarantee Scheme ระยะที่ 9

2) โครงการค้ำประกันสินเชื่ อ Micro ไทยสู้ภัยโควิ ด วงเงินโครงการ 5,000 ล้านบาท ภายใต้โครงการค้ำประกันสินเ ชื่อเพื่อผู้ประกอบการ Micro Entrepreneurs ระยะที่ 4 ทั้ง 2 โครงการรับคำขอค้ำประกันสินเชื่ อถึงวันที่ 31 มกราคม 2564 และ

3) โครงการค้ำประกันสินเ ชื่อ PGS Soft Loan พลัส วงเงินคงเหลือประมาณ 54,000 ล้านบาท สำหรับผู้ประกอบการ SMEs ที่มีคุณสมบัติตาม Soft Loan ธปท. และ Soft Loan ท่องเที่ยวของธนาคารออมสิน รับคำขอค้ำประกันสินเชื่ อตามระยะเวลารับคำขอสินเ ชื่อของแต่ละโครงการ

นอกจากนี้ กระทรวงการคลังร่วมกับ ธปท. ได้มีการออกพระราชกำหนดการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแ ก่ผู้ประกอบวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบ (Soft Loan ธปท.) ซึ่งมีวงเงินคงเหลือประมาณ 370,000 ล้านบาท รับคำขอสินเชื่ อถึงวันที่ 18 เมษายน 2564

1.2 มาตรการเสริมสภาพคล่องสำหรับประชาชน

1.2.1 ธนาคารออมสิน ได้ดำเนินโครงการสินเชื่ อดอกเบี้ ยต่ำสำหรับประชาชน ดังนี้

1) โครงการสินเชื่ อเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับผู้มีอาชีพอิสระที่ได้รับผลกระทบ วงเงินคงเหลือประมาณ 2,700 ล้านบาท และ

2) โครงการสินเ ชื่อเสริมพลังฐานราก วงเงินคงเหลือประมาณ 10,000 ล้านบาท โดยทั้ง 2 โครงการได้ขยายเวลารับคำขอสินเชื่ อออกไปจนถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2564

1.2.2 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ได้ดำเนินโครงการสินเชื่ อดอกเบี้ ยต่ำสำหรับประชาชน ดังนี้

1) โครงการสินเชื่ อฉุ กเ ฉิน วงเงินคงเหลือประมาณ 11,000 ล้านบาท โดยได้ขยายเวลารับคำขอสินเชื่ อ ออกไปจนถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2564

2) โครงการสินเชื่ อพอเพียงเพื่อเลี้ยงชีพ (Sufficient Loan : SL) วงเงินโครงการ 10,000 ล้านบาท

3) โครงการสินเชื่ อ New Gen Hug บ้านเกิด วงเงินโครงการ 60,000 ล้านบาท และ

4) โครงการสินเชื่ อระยะสั้นฤดูกาลผลิตใหม่ (Jump Start Credit) วงเงิน 100,000 ล้านบาท ทุกโครงการสิ้นสุดการจ่ายเงินกู้วันที่ 30 มิถุนายน 2564

2. มาตรการบรรเทาภาระห นี้สิน (พักชำระห นี้)

สถาบันการเงินเฉพาะกิจแต่ละแห่งได้มีการจัดกลุ่มลู กห นี้ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แ ก่

1) กลุ่มสีเขียว คือกลุ่มที่สามารถกลับมาชำระห นี้ได้ปกติ

2) กลุ่มสีเหลือง คือกลุ่มที่กลับมาชำระห นี้ได้บางส่วนไ ม่เต็มจำนวนที่ต้องจ่าย และ

3) กลุ่มสีแดง คือกลุ่มที่มีปัญหาไ ม่สามารถชำระห นี้ได้

โดยสถาบันการเงินเฉพาะกิจจะมีการพิจารณามาตรการเพื่อช่วยเหลือลูกห นี้แต่ละรายเพิ่มเติมเป็นการเฉพาะ ไ ม่ว่าจะเป็น การขยายเวลาการชำระห นี้ การปรับปรุงโครงสร้างห นี้ และการให้สินเชื่ อเพื่อเพิ่มสภาพคล่อง รวมถึงมีการติดต่อลูกค้าเพื่อช่วยเหลือในเชิงรุก

สำหรับลูกค้าที่อยู่ในเขตพื้นที่ควบคุมสูงสุดตามประกาศของ ศบค. ทั้งนี้ กระทรวงการคลังจะประสาน ธปท. เพื่อให้มีการดำเนินการให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการและประชาชนในส่วนของธนาคารพาณิชย์ในลักษณะเช่นเดียวกันกับสถาบันการเงินเฉพาะกิจต่อไป

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

– ธนาคารออมสิน โทร. 1 1 1 5

– ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โทร.  0 2 5 5 5 – 0 5 5 5

– ธนาคารอาคารสงเครา ะห์ โทร. 0 2 6  4 59 0 0 0

– ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย โทร. 1 3 5 7

– ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย โทร. 0 2 6 1 7 2 1 1 1

– ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย โทร. 1 3 0 2

– บรรษัทประกันสินเชื่ ออุตสาหกร รมขนาดย่ อม โทร. 0 2 8 9  0 9 9 9 9

ที่มา Amarinnews

ใส่ความเห็น

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า