ใส่ข้าวเหนียวไว้ในกระติกน้ำ อันตร ายกว่าที่คิ ด

ข้าวเหนียวที่ใส่ไว้ในกระติกน้ำพลาสติกอันตร าย

การนำกระติกน้ำแข็งมาใส่ข้าวเหนียวนึ่งอันตร ายหรือไ ม่?

ตอบ กระติกน้ำแข็งส่วนใหญ่ประกอบด้วยพลาสติก 3 ชั้น

– ชั้นนอกเป็นพลาสติกแข็งขึ้นรูป อาจจะเสริมโลหะบ้าง

– ชั้นกลางเป็นฉนวนกันความร้อนมักใช้โฟมโพลิยูริเทน

– ชั้นในสุด ส่วนใหญ่เป็นพลาสติกชนิด โพลิเอทิลีน ( PE ) ทนความร้อนได้ 80-100 C

วัตถุประสงค์ของการผลิตกระติกน้ำแข็งเพื่อเก็บความเย็นให้คงอยู่นาน ไ ม่เหมาะต่อการบรรจุ ของร้อนจัด เช่น น้ำเดือ ด เพราะอาจจะทำให้พลาสติกอ่อนตัวได้ เสื่อ มสภาพเร็วยิ่งขึ้น และอาจมีส ารเ ค มีที่เป็นส่วนประกอบของพลาสติก หลุดออกมาได้

– กรณีที่แม่ค้านำกระติกน้ำแข็งมาใส่ข้าวสุกหรือข้าวเหนียวนึ่งร้อนๆนั้น คาดว่าอุณหภูมิประมาณ 70 C – 80 C และมีการห่อด้วยผ้าขาวบางก่อน 1 ชั้น โอกาสที่จะได้รับสา รเ คมีที่จะหลุดออกมาไ ม่มากเท่ากับการสัมผัสกับพลาสติกโดยตรง หรือการบรรจุของเหลวร้อนๆ แต่อาจไ ม่เหมาะสมเพราะจะทำให้พลาสติกเสื่ อมสภาพได้เร็วยิ่งขึ้น การซื้อกระติกน้ำแข็งมาใช้ให้สังเกตฉลาก มักจะกำหนดอุณหภูมิการใช้งานไว้

อันตรา ยจากส ารปนเปื้อ นที่มากับพลาสติกมีอะไรบ้าง

พลาสติกทุกชนิดทำมาจากสา รเ คมี มีการใช้ส ารเ คมีหลายชนิดในขบวนการผลิต ย่อมจะมีส ารเ คมีที่ตกค้างอยู่ในเ นื้อพลาสติกได้ มากน้อยต่างกันขึ้นอยู่กับขบวนการผลิต และชนิดของวัตถุดิ บที่ใช้

ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหาร มีกฎข้อบังคับเพื่อควบคุมการผลิต คือวัตถุดิ บที่นำไปใช้ในการผลิตต้องได้มาตรฐานมีขบวนการตรวจสอบ และมีการรับรอง และ เมื่อผลิตมาเป็นภาชนะแล้ว ต้องมั่นใ จว่าไ ม่มีการละลายออกมาของสา รเคมีอันตรา ยที่มีอยู่ในพลาสติก ลงมาสู่อาหารที่จะบรรจุ จนก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของอาหาร หรือ มีสา รเ คมีละลายออกมามากจนเกินระดับปลอดภั ย ต่อการบริโภคอาหารนั้น จึงต้องมีหน่วยงานที่ทำการตรวจสอบความปลอดภั ยของภาชนะบรรจุ และสัมผัสอาหารเมื่อนำมาบรรจุอาหาร

พลาสติกที่นิยมบรรจุอาหารมีหลายประเภท อาจกล่าวได้ว่าภั ยหรืออันตรา ยจากพลาสติกจะเกิดขึ้นได้ก็ด้วยปัจจัยที่เกี่ยวกับการใช้งานเป็นส่วนใหญ่คือ

การใช้งานที่ไ ม่ถูกต้อง คือ พลาสติกมีความทนทานต่อปัจจัยทางด้านการใช้งานที่ต่างกัน เช่น ความร้อน ลักษณะของอาหารที่มีไขมัน หรืออาหารที่เป็นก รด เนื้ อพลาสติกซึ่งเป็นสา รที่มีโมเลกุลใหญ่ ส่วนใหญ่จะไ ม่มีผลต่อร่างกายเพราะไ ม่สามารถดูดซึมได้ง่าย ขณะที่สา รเติมแต่งหรือโมโนเมอร์ตกค้าง ซึ่งมีโมเลกุลเล็ก จะมีผลต่อร่างกายมากกว่า

อาหารที่มีความเป็นกร ดสูง เช่น พริกดองน้ำส้มสายชู ไ ม่ควรใส่แช่ค้างไว้ในภาชนะพลาสติกนานๆ เพราะโดยธรรมชาติแล้ว อาหารประเภทก รดจะสามารถชะสา รเ คมีต่างๆจากพลาสติกได้มากกว่าอาหารที่มีกรดต่ำ

อาหารประเภทไขมัน เช่น น้ำมันพืช หรือน้ำมันสัตว์ต่างๆ ควรบรรจุในภาชนะพลาสติกที่เหมาะสม เช่น ขวด PET เพราะพลาสติกบางชนิดจะมีการละลายออกมาของสา รเคมีได้มากเมื่อตัวทำละลายเป็นไขมัน

สินค้าที่ไ ม่มีคุณภาพ ไ ม่มีการตรวจสอบและรับรองจากหน่วยงานที่ควบคุมดูแลด้านนี้ เช่น สมอ. และมักไ ม่มีฉลาก ซึ่งภาชนะเหล่านี้มักมีราคาถูก แต่อาจจะมีการตกค้างของส ารเ คมีอันตร ายเกินค่ามาตรฐานได้ เช่น มีตะกั่วในเนื้ อพลาสติกเกินค่ามาตรฐาน หรือ มีสีละลายออกมา หรือมีส ารต่างๆ ละลายออกมาเกินมาตรฐานเมื่อนำไปบรรจุของเหลว หรืออาจจะมีกลิ่นของส ารเ คมีที่มากเกินการยอมรับได้ สิ่งเหล่านี้เกิดจากการที่ไ ม่มีการควบคุมการผลิตที่ดี ซึ่งผู้ใช้ต้องสังเกตและเลือกใช้ด้วย

ที่มา  กรมวิทย าศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

ใส่ความเห็น

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า