หมอยื นยัน กินแล้วกระตุ้ นเซลล์ม ะเ ร็ง
หมอญี่ปุ่นยืนยัน กินแล้วกระตุ้ นเซลล์ม ะเ ร็ง
แพทย์ชาวญี่ปุ่นรวบรวมอาหารที่กินแล้วมีความเป็นไปได้ที่จะเข้าไปกระตุ้ นเซลล์มะเร็ งในร่างกายของเราได้
เมื่อได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็ ง ผู้ป่ วยทุกคนคงรู้สึกตกใจและกังวลไปต่างๆ นานา ความจริงแล้วหากได้รับการวินิจฉัยแต่เนิ่นๆ ก็เป็นโอกาสดีที่จะให้ผู้ป่ วยหันมาดูแลร่างกายเพื่อให้ต่อสู้กับมะเ ร็งได้
นอกจากการบำบัดโดยวิธีทางการแพทย์แล้ว การดูแลตัวเองจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรร ม โดยเฉพาะพฤติกร รมการกินนั้นสำคัญไม่น้อย
มีอาหารมากมายที่ช่วยชะลอและต้า นเซลล์มะเ ร็ง และก็มีอาหารที่คุณหมอชาวญี่ปุ่นไม่แนะนำให้รับประทานหากป่ว ยเป็นมะเร็ งเช่นกัน มารู้กันว่าอาหารเหล่านั้นคืออะไรกันบ้าง
อาหารที่หมอญี่ปุ่นยืนยัน กระตุ้ นเซลล์ “มะเ ร็ง”
คุณหมอฮิโรมิ วาดะ (Hiromi Wada) ผู้เชี่ยวชาญด้านมะเร็ งจากมหาวิทย าลัยเกียวโต ได้ให้สัมภาษณ์ถึงวิธีการป้องกันและรักษาโร คมะเร็ งและโร คที่เกิดจากการดำเนินชีวิตประจำวัน โดยกล่าวว่า
เซลล์มะเร็ งจะชอบสิ่งแวดล้อมในร่างกายที่เป็นกร ดมาก ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่ทำให้สิ่งแวดล้อมภายในร่างกายมีความเป็นกร ด โดยอาหารดังกล่าวได้แก่
น มและผลิตภัณฑ์น ม
เช่น เนย โยเกิร์ต และชีส มี IGF-1 (Insulin-like growth factor) ในปริมาณที่สูง สา รชนิดนี้จะไปเร่งอัตราการเจริญเติบโตของเซลล์มะเ ร็ง ดังนั้น ชีสเค้กหวานมันจะให้ IGF-1 และน้ำตาลกลูโคสแก่เซลล์มะเ ร็ง และเปลี่ยนรอบๆ เซลล์มะเ ร็งให้เป็นกร ดที่เซลล์มะเ ร็งชอบ โดยคุณหมอพบว่าผู้ป่ วยที่เป็นมะเ ร็งมีแนวโน้มอยากรับประทานของหวานที่ทำจากชีสและน มเนยมากขึ้น และผู้ป่ว ยที่หยุดรับประทานน มและผลิตภัณฑ์น มรวมถึงของหวานจะส่งผลในการบำบัดโร คมะเร็ งให้มีโอกาสหายได้มากขึ้น
แม้ว่าโยเกิร์ตและชีสจะดีต่อสุขภาพเพราะช่วยเสริมสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีในลำไ ส้และเสริมสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกายให้แข็งแร ง แต่เมื่อตรวจพบเซลล์มะเร็ ง ชีสและโยเกิร์ตกลับเป็นอาหารต้องห้า มสำหรับผู้ป่ว ยเป็นมะเร็ ง
คุณหมอแนะนำว่าหากต้องการเสริมสร้างสภาวะสิ่งแวดล้อมในลำไส้ที่ดีก็สามารถใช้อาหารทางเลือกจากสาเกหวาน หรือมิโสะแทนโยเกิร์ตและชีสแทนได้
เ นื้อวัว หมู และผลิตภัณฑ์แปรรูปเนื้ อสัตว์
เ นื้อสัตว์โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหารแปรรูปจากเ นื้ อวัว เ นื้อหมูและไ ส้กรอก เมื่อรับประทานเข้าไปจะเพิ่มความเป็นกร ดรอบๆ เซลล์มะเ ร็ง นอกเหนือจากสร้างสภาวะความเป็นกร ดที่เซลล์มะเร็ งชอบแล้ว ส ารที่เกิดขึ้นในกระบวนการย่าง อบและปรุงเนื้ อสัตว์ ได้แก่ เฮเทอโรไซคลิก เอมีน (Heterocyclic amine, HCA) ที่เกิดจากการปิ้งย่างเ นื้อสัตว์จนไหม้เกรียม และส ารโพลีไซคลิก อะโรมาติก ไฮโดรคาร์บอน (Polycyclic aromatic hydrocarbon, PAH) ซึ่งเกิดจากการไหม้เกรียมของเนื้ อสัตว์ ปิ้ง ย่าง ทอดกรอบ และรมควัน สา รเหล่านี้เป็นสา รสำคัญที่ช่วยให้การเจริญของเซลล์มะเ ร็งดีขึ้นด้วย