คาถาเรียกเงิน หลวงพ่อกบ เรียกเงินเข้าหามีเก็บมีใช้ไม่ขา ดมือ
คาถาเรียกเงิน หลวงพ่อกบ เรียกเงินเข้าหามีเก็บมีใช้ไม่ขา ดมือ
หลวงพ่อกบ เป็นพระภิกษุสงฆ์ที่พุทธศ าสนิกชนทั่วไปให้ความเคา รพ และเลื่อมใสศรัทธา ชีวประวัติของท่านไม่ได้บันทึกไว้ชัดเจน เป็นแต่เพียงการเล่าขา นสืบต่อกั นมาว่า ท่านธุดงค์มาปักกลดอยู่ที่ชายป่ าด้านเขาสาริกา เมื่อประมาณปลายปี พ.ศ. 2430 โดยที่ไม่มีใครทรา บวาท่าuมาจากไหน
ช าวบ้านพบครั้งแรกในสภ าพนุ่ งห่ มจีวรเก่าคร่ำคร่าแบ กไม้คานหาบกระบุงเปล่าไว้บนบ่าสองใบ เดินผ่า นมาด้วยสีหน้าเรียบเฉย ชาวบ้านร้องทักว่า หลวงพ่อหาบกระ บุงเปล่าไปทำไม ท่านก็ตอบว่า กูหาบมาใส่เงินใส่ทองโว้ย ว่าแล้วก็เดินดุ่ม ดุ่ม เข้าไปพำนักในวัดเขาสาริกา ซึ่งสมัยนั้นเป็นวั ดเก่า เก่า เกือบจะเป็ นวัดร้าง
หลวงพ่อกบ วัดเขาสาริกา อ บ้านหมี่ จ ลพบุรี เป็นผู้ทรงศีลที่มีฌานสมาบัติขั้นสูง ຍากที่จะเข้าถึงได้จะนำเสนอเรื่ องราวของท่ า นพอสังเขป การบำเพ็ญเพียรภาวนาปกติหลวงพ่อ กบจะอยู่ในท่านั่งยอง ยอง เป็นเวลาย าวนานติดต่ อกัน คราวละ 7 ถึง 14 วัน โดยที่ท่านจะไม่ ลุกไปไหน ไม่ฉันอาหาร น้ำ หรือแม้แต่การถ่ายหนั ก ถ่ายเบา เป็นเรื่ องที่สร้างความอัศจรร ย์ใจให้แก่ผู้พบเห็นเป็นอัuมาก
ปฏิปทาอันเหลือเชื่ อของท่านเกิ ดขึ้นได้ เพราะท่านสามารถถอดจิตออกจากกายได้ ทำให้ไม่รับรู้ต่อสภาพความหิว และความ
เจ็ บ ปว ดใด ใด การนั่งยอง ยอง ไม่ว่าจะสว ดมนต์ หรือทำกิจวัตรใด ใด และจะจำวัตรด้วยท่าตะแ คงขวาเป็ นประจำ
หลวงพ่อท่านจะนุ่งสบงเก่า เก่า ผืนเดือนไม่ห่อจีวร ที่คอจะแขวนลูกกระพรวน อยู่แต่ในวัดไม่เคยเดินออกไปไหนเลย ใช้น้ำชา และต้มเครื่องเทศเป็นสมุนไพรรั กษา โร คต่าง ต่าง ชื่อเสียงของท่านถูกกล่าวขานปากต่อ ปาก ผู้คนจำนวน มาทำการรั กษาจากท่าน เป็นเรื่ องที่ชี้ให้เห็นถึงปฏิปทาที่เต็มไปด้วยความเมตตาอย่างสูงของท่าน
หลวงพ่อกบ ท่านได้ละสังขารเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2496 หลวงพ่อโอ ภาสีได้มาที่วัดและเป็นประธานในงานเผาสรีระของท่าน เพราะการเดินทางในสมัยนั้นย ากลำบากมากและหนทางไกลด้วย
คาถาเรียกเงินทอง ของหลวงพ่อกบ วัดเขาสาริกา ลพบุรี
โอมละลวย มหาละลวย มะอะอุ
สิวังพรหมา จิตตังมานิมา มาทองหนึ่งทอง
ทองสองทอง โอมมหาจินดา เงินทองไหลมานิมามา
นี่คือบทสวด คาถาเรียกเงินทอง ของหลวงพ่อกบ แห่งวันเขาสาลิกา จังหวัดลพบุรี ซึ่งหลวงพ่อกบจะเน้นย้ำกับคำว่า ทองหนึ่ง หนึ่งทอง ทองหนึ่ง หมายถึง หนึ่งไม่มีสอง เปรียบเสมือนทอง ยังไงก็เป็นทอง ดั่งคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่เป็นหนึ่งในโลก ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปเท่าใดก็ยังคงเป็นหนึ่งเสมอ
แหล่งข้อมูล bangpunsara