เตื อนภั ย เห็บเข้าหูเด็ กหญิง วางไข่อั ดเต็มหู 

เตื อนภั ย เห็บเข้าหูเด็ กหญิง วางไข่อั ดเต็มหู 

โซเชียลเตื อนภั ย “เห็บป่า” เข้าหูเด็ กหญิง-ไข่เต็มรูหู ทำอัมพา ตครึ่งหน้า ยิ้มปากเบี้ยวคิ้วเอียง หมอระบุ แก้วหูชั้นในช้ำจนมีเ ลือดออก ปลายเส้นประส าทอักเส บ ต้องให้ย ากระตุ้ นประส าทรักษา

จากกรณีเมื่อวานนี้ (4 ธันวาคม 2563) มีผู้ใช้เฟซบุ๊กรายหนึ่งได้โพสต์เตื อนภั ยเกี่ยวกับเห็บเข้าหูเ ด็ก ซึ่งเคสล่าสุดที่เจอคือ “เห็บป่า” อันตร ายของเห็บชนิดนี้ส่งผลให้เส้นปลายประสา ทของเด็ กอักเ สบ เป็นอัมพ าตไปครึ่งหน้า โดยผู้โพสต์ระบุว่า

เห็บป่าเข้าหูออกไข่เต็มหูเ ด็ก ทำให้เส้นปลายประส าทอักเส บ ตอนนี้เป็นอัมพา ตไปครึ่งหน้า ซึ่งอาการเริ่มแรกเ ด็กบอกแค่ว่า คันหูและมีฟองออกมาจากหู ผู้ปกครองจึงใช้สำลีปั่นหู จากนั้นลองเอ าไ ฟส่องดูจึงเห็นตัวแม่สีดำปี๋ และวันต่อมาเ ด็กมีอาการยิ้มปากเบี้ยว คิ้วเอียง เลยพาไปหาหมอเฉพาะทาง ส่องกล้องทั้งตัวไ ข่เต็มหูเลย

นอกจากนี้ ผู้โพสต์ยังให้ข้อมูลเพิ่มเติมด้วยว่า เห็บที่เข้าหูน้องเป็นเห็บป่า คนละชนิดกับเห็บบ้าน เห็บหมาแมวที่เห็นกันปกติ เห็บป่าจะอยู่กับป่าและตัวสั ตว์ป่า ซึ่งทางคุณหมอ คาดว่าเด็ กอาจจะออกไปไหนมา ประกอบกับช่วงนี้ลมแ รงทำให้พัดตัวเห็บเข้ามาในหูได้

ส่วนอาการพบ แก้วหูชั้นในช้ำมากมีเลื อดออก ทำให้ปลายเส้นประสา ทอักเส บ รักษาหายได้แต่ต้องใช้เวลา และต้องใช้ย ากระตุ้ นประส าทมาเพิ่ม เพราะเส้นประสา ทบางส่วนใช้งานไ ม่ได้แล้ว

อย่างไรก็ตาม พญ.มิ่งขวัญ วิชัยดิษฐ ผู้อำนวยการสถาบันโ รคผิวห นัง เคยให้ความรู้เรื่อง “เห็บกั ดคน” ไว้ด้วยว่า อาการที่เกิดจากเห็ บกั ดมักเป็นเพียงอาการเฉพาะที่ แต่มีผู้ป่ วยส่วนน้อย ที่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแ รงหลังถูกเห็บบางชนิดกัด คือ การเกิดอัมพา ต

เริ่มแรกผู้ป่ วยจะมีอาการปว ดหัว ป วดเมื่อยตามตัว และไ ม่นานจะเกิดเป็นอัมพ าต ซึ่งภาวะนี้อาจนำไปสู่ภาวะระบบหายใ จล้มเหลวที่เป็นอันตร ายถึงชีวิตได้

นอกจากนี้ เพจเฟซบุ๊ก Jungle Trek : สายป่า ก็ได้ให้ความรู้เรื่องเห็บที่พบในป่าไว้ด้วยว่า มี 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ เห็บแข็ง (Ticks) หรือเห็บกวาง ตัวใหญ่คล้ายเห็บหมากับเห็บลม หรือแมงแดงตัวเล็ก ๆ เหมือนไร จะตัวเล็กกว่าเห็บทั่วไป พบเกือบตลอดทั้งปี โดยเฉพาะช่วงหน้าหนาวมีเยอะเป็นพิเศษ อาศัยตามพื้นหรือปีนขึ้นมาตามใบหญ้า รอสัตว์เดินผ่านมาก็อาศัยเกาะ ที่ใดมีสั ตว์ ที่นั่นมีเห็บ

สำหรับเห็บลม เป็นสัตว์ตัวเล็ก ๆ ขนาดประมาณหัวเข็มหมุดจึงสามารถลอยไปตามกระแสลมได้ โดยทั่วไปแล้วพบได้ในฤดูแล้งเขตป่าในอุทยานแห่งชาติ เห็บลมเป็นสั ตว์ที่กินเลื อดสัตว์อื่น เช่น กวาง เก้ง เมื่อคนไปเดินในป่า อาจถูกเห็บลมกัด อาการเมื่อถูกกั ด เห็บลมจะเกาะติดอยู่ที่ผิวหนั งโดยเราไ ม่รู้ตัว เป็นเวลา 3-4 วัน

บางคนมีอาการแ พ้อาจเป็นไ ข้ทุกวัน รอบ ๆ บริเวณที่ถูกกั ดเป็นผื่ นแดง เจ็ บคั น เราควรสำรวจร่างกายทุกครั้งเมื่อกลับออกจากป่า หรือกลับจากไปเที่ยวตามสวนสั ตว์เปิดทั่วไป

ขอบคุณข้อมูลจาก เฟซบุ๊ก กรมการแพทย์, เฟซบุ๊ก Jungle Trek : สายป่า

ใส่ความเห็น

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า